top of page
sun-clouds3.jpg

Welcome to ACRP Thailand

Home: Welcome
ACRP-THFinal.jpg

Introduction

The Asian Conference of Religions for Peace, Thailand Chapter (ACRP Thailand)

The World Conference on Religion and Peace (WCRP) was launched in 1968 by religious leaders in the United States, Japan, and India seeking to affirm together their religious commitments to peace, and to find ways of translating that commitment into shared practical action. Beginning with its first assembly in Kyoto, the WCRP has held six world assemblies and developed and impressive network of regional and local chapters in Africa, Asia, Europe and North America. As a Non-Governmental Organization of the United Nations, WCRP has directed its efforts especially to peace and disarmament issues. Both its international headquarters and its United States branch office are in New York in offices near the United Nations.

Home: Who We Are

Religions for Peace Thailand

RfP Thailand

Religions for Peace Thailand has since 2009 embarked on the mission of mobilizing religious leaders and members of religious communities to work in the area of conflict transformation and peacebuilding for Thai society. Thailand’s Southern Unrest has been marked as the key targeted area for RfP activities, which have largely been 1) intra and interreligious dialogues, 2) fieldtrips to learn about peaceful coexistence, and 3) youth camps. There are also the 5 religions praying and peace walks (dhammayattra) aiming at raising awareness among Thais that violent means was not a proper solution for the contracted political conflict between the yellow and red shirt groups. Since 2009 RfP Thailand has its secretariat office set up at the Institute of Human Rights and Peace Studies (IHRP), Mahidol University and a group of academic and supporting staff of IHRP has been the one who executes the tasks and activities of RfP Thailand along with cooperation and collaboration with committee of Religions for Peace-Interreligious Council of Thailand (RfP-IRC Thailand). After the passing of Assist. Prof. Dr. Parichart Suwannabubbha who had served as RfP Thaliland Secretary-General from 2009-2016, Dr. Suphatmet Yunyasit, a lecturer at IHRP, Mahidol, is now taking the leadership role of RfP Thailand. She is the Secretary-General of RfP Thailand while Dr. Padtheera Nakurairattana serves as Deputy Secretary-General. Assoc. Prof. Dr. Gothom Arya is an advisor to RfP Thailand executive team.

 

Home: Who We Are

Sajjhāya Tipiṭaka

พระไตรปิฎกสัชฌายะ

Home: วิดีโอ
ระตะนะสุตตะ (Ratanasutta)
17:44
worldtipitaka

ระตะนะสุตตะ (Ratanasutta)

ต้นฉบับรัตนสูตร หรือ ระตะนะสุตตะ (Ratanasutta) ชุดนี้ เป็นการออกเสียง เน้น เสียงละหุ (เสียงเร็ว) และเสียงคะรุ (ลากเสียงนานขึ้น) ตามหลักไวยากรณ์ เรียกว่า "สัชฌายะ" (Sajjhāya Recitation) ตามเนื้อหาพระไตรปิฎกสากล ชุด 40 เล่ม ในพระสังฆราชูปถัมภ์สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร ซึ่งจัดพิมพ์เป็นอักษรโรมัน และเผยแผ่ครั้งแรกเป็นพระธัมมทานในสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ องค์ประธานกิตติมศักดิ์ พ.ศ. 2548 การจัดพิมพ์เป็น "โน้ตเสียงปาฬิ" (Pāḷi Notation) เป็นการมุ่งเน้นการออกเสียงปาฬิ (Pāḷi) ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยอ้างอิงตามต้นฉบับ จปร. อักษรสยาม พ.ศ. 2436 ซึ่งได้จัดพิมพ์ อักษรสยาม (Syām Script) เทียบเสียงกับ อักษรโรมัน (Roman Script) เพื่ออ้างอิงเป็นฉบับสากล เช่น /พ/ ออกเสียง [ba] หรือ [บะ] ส่วน /ท/ ออกเสียง [ดะ] หรือ [da] เป็นต้น นวัตกรรมการเขียนเสียงปาฬิ และการแบ่งพยางค์สัชฌายะ ได้รับการตรวจสอบด้วย "สูตรสกัดคณิตศาสตร์ พ.ศ. 2556" จากราชบัณฑิตสำนักวิทยาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสภา เช่น [ตะ-สมา] หรือ [ta-smā] ออกเสียงตามไวยากรณ์กัจจายะนะ-ปาฬิ ข้อ 602 เป็นต้น ซึ่งต่อมามูลนิธิพระไตรปิฎกสากลได้รับสิทธิบัตรโปรแกรมการแบ่งพยางค์อิเล็คทรอนิกส์เป็นทรัพย์สินทางปัญญา เลขที่ 46390 (พ.ศ. 2557) ส่วนการสร้างสรรค์ โดยเขียนเป็นโน้ตเสียงปาฬิ พ.ศ. 2558 พร้อมทั้งการบันทึกเสียงสัชฌายะดิจิทัลที่ไม่มีเสียงวรรณยุกต์สูงต่ำตามไวยากรณ์ข้างต้น จัดทำโดยผู้เชี่ยวชาญทางดุริยางคศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งได้รับพระราชทานรางวัลผลงานวิจัยดีเด่น พ.ศ. 2562 มูลนิธิพระไตรปิฎกสากลได้รับพระบรมราชานุญาตให้สร้างพระไตรปิฎกสัชฌายะเพื่อเฉลิมพระเกียรติในรัชกาลที่ 9 และได้น้อมเกล้าฯ ถวายพระไตรปิฎกสากล ฉบับสัชฌายะชุดปฐมฤกษ์ และอุปกรณ์เสียงสัชฌายะดิจิทัลแด่พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2560 ในการนี้ได้โปรดเกล้าฯ ให้มูลนิธิฯ อัญเชิญไปน้อมถวายแด่สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก วัดราชบพิธฯ และสถาบันต่างๆ พ.ศ. 2561 การออกเสียงที่แม่นตรงตามไวยากรณ์ในพระไตรปิฎกย่อมนำมาซึ่งปัญญา และบุญกิริยาต่อทั้งผู้ออกเสียงสัชฌายะ และผู้ที่สดับฟัง ภาคแปล โดย อ. สิริ เพ็ชรไชย ป.ธ.9, ศ.กิตติคุณ ดร. วิจินตน์ ภาณุพงศ์ และคณะ sajjhaya.org
Home: Videos

Activities

Pictures of Activities

1631704695536_edited.jpg
Home: รูปภาพ

Files

Download Now

Keeping Faith, Transforming
Tomorrow

Building & Equipping Interreligious Councils (IRCs) For Action

BL Exhibition

World Tipitaka Innovation 4.0

World Tipiṭaka Innovation & Intellectual Properties

Tipitaka Technology

Narrative and Financial Report of 2019

Thailand Chapter Report-April 2018

Thailand National Report (28 April-1 May, 2016)

Home: ไฟล์

Contact ACRP Thailand

aerial-view-beautiful-gloden-pagoda-sunset-phra-pathom-chedi-temple-nakhon-pathom-province-thailand_
Home: Contact
bottom of page